1. สาเหตุหลักของการแต่งการผิดระเบียบของนักศึกษา ส่วน
ใหญ่มาจาก "แฟชัน"
ขณะที่นักศึกษาหญิงบางคนก็บอกว่า...ที่ต้องใส่เพราะไม่มีทาง
เลือก อย่างรายของ ช่อลัดดา ที่ระบุว่า... จำเป็นต้องใส่ตามคน
อื่น เพราะทำไปทำมากลายเป็นว่าร้านขายชุดนักศึกษาทั่วไปไม่
นิยมทำชุดมาตรฐานขาย อย่างเสื้อก็จะทำแต่ไซซ์นิยมคือ SS
หรือ SSS ทั้งที่เธอเองก็อยากจะให้ถูกระเบียบสถาบัน...แต่ก็
ยาก
“ยุคนี้หาชุดถูกระเบียบเป๊ะ ๆ ยาก เดี๋ยวนี้ร้านไหนขายเสื้อถูก
ระเบียบ...ไม่มีแล้ว ขายไม่ได้ นักศึกษาเองเขาก็ไม่นิยมใส่ ยุคนี้
ไม่มีใครสนใจแล้ว...ใครจะมองก็มองไป กลายเป็นมาตรฐานใน
กลุ่มนักศึกษาไปหมดแล้ว ใครไม่ใส่สิเชย จะถูกมองว่าเป็นคน
แปลกประหลาด”
...เป็นคำกล่าวของนักศึกษาหญิงรายนี้ ซึ่งเธอยอมรับว่า... ที่
เธอต้องแต่งชุดนักศึกษาแบบที่เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากนี้
ส่วนสำคัญส่วนหนึ่งก็เกิด “สังคมเพื่อนนักศึกษาพาไป” ด้วย...
“แรก ๆ ใส่ก็อาย แต่นานไปก็กลายเป็นมั่นใจ” ...เธอว่า
จากคนที่ทานกระแส สู่คนที่ปล่อยตัวไปตามกระแส มาต่อกัน
ด้วยนักศึกษาหญิงที่อยู่แถวหน้าของกระแสแฟชั่นชุดนักศึกษา
หญิงรัดติ้ว-สั้นเต่อที่ชื่อ อัญชลี ที่บอกไว้ว่า... ถึงเธอจะแต่งตัว
แบบนี้ แต่การเรียนก็ไม่เคยตก บางคนแต่งตัวสุดเปรี้ยวแต่ผล
การเรียนดีมาก เป็นคนที่เก่งที่สุดในห้องก็มี
2. บางส่วนก็เข้าใจว่า สิ่งที่ทำไม่ได้เสียหายกับคนอื่น
" อย่าใช้เรื่องการแต่งตัวมาเป็นมาตรฐานชี้วัดได้มั้ย ผู้ใหญ่ควร
จะดูที่ความคิดหรือที่ผลการเรียนจะดีกว่ามาคอยนั่งจับผิดเรื่อง
แบบนี้ ไม่อยากให้เหมารวมว่านักศึกษาที่แต่งตัวแบบนี้เป็นเด็ก
ไม่ดี เป็นเด็กใจแตก เพราะคนเราจะดีหรือไม่ดีไม่ได้ขึ้นกับการ
แต่งกาย” ...อัญชลีกล่าวเสียงฉุน ๆ ก่อนจะบอกต่อไปอีกว่า...
สำหรับเธอแล้วการแต่งตัวแบบนี้เหมือนเป็นการ “คลาย
เครียด”
เป็นการ “ระบายอารมณ์” อย่างหนึ่ง และไม่ปฏิเสธว่าการ
“แหกกฎ” ในบางเรื่อง การทำผิดระเบียบ ทำให้ “สนุก”"
3. สาเหตุสุดท้าย คือการโทษสถาบัน
“ฝ่ายสถาบันการศึกษาเองก็ผิด ที่มีส่วนปล่อยให้กระแสแบบนี้
ลามไปทั่วจนยับยั้งยาก รวมถึงผู้ค้าที่หากินกับการขายชุด
นักศึกษาก็ยึดถือผลกำไรเป็นหลัก จนไม่คำนึงถึงความถูกต้อง
เหมาะสม” ...ส่วนนี่เป็นคำกล่าวของผู้ใหญ่ในมหาวิทยาลัยรัฐ
แห่งหนึ่ง ซึ่งนักการศึกษารายนี้ยังบอกด้วยว่า... “ปัญหานี้จะ
โทษเด็กฝ่ายเดียวไม่ได้ ต้องไม่ลืมที่จะมองฝ่ายอื่น ๆ ด้วย”
ทั้งหมดทั้งมวลก็คงต้องขึ้นอยู่กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง...ณ ที่นี้ก็
แค่สะท้อนเสียงฝ่ายต่าง ๆ สู่สังคมอีกครั้ง...
แค่สะท้อนเสียงฝ่ายต่าง ๆ สู่สังคมอีกครั้ง...
ที่มา www.econ.mju.ac.th/student-dress/index.php?option=com.
สาเหตุของการแต่งกายผิดระเบียบ
1. สาเหตุหลักของการแต่งการผิดระเบียบของนักศึกษา
ส่วนใหญ่มาจาก "แฟชัน" ขณะที่นักศึกษาหญิงบางคนก็บอก
ว่า...ที่ต้องใส่เพราะไม่มีทางเลือก อย่างรายของ ช่อลัดดา ที่
ระบุว่า... จำเป็นต้องใส่ตามคนอื่น เพราะทำไปทำมากลายเป็น
ว่าร้านขายชุดนักศึกษาทั่วไปไม่นิยมทำชุดมาตรฐานขาย อย่าง
เสื้อก็จะทำแต่ไซซ์นิยมคือ SS หรือ SSS ทั้งที่เธอเองก็อยากจะ
ให้ถูกระเบียบสถาบัน...แต่ก็ยาก “ยุคนี้หาชุดถูกระ
เบียบเป๊ะ ๆ ยาก เดี๋ยวนี้ร้านไหนขายเสื้อถูกระเบียบ...ไม่มีแล้ว
ขายไม่ได้ นักศึกษาเองเขาก็ไม่นิยมใส่ ยุคนี้ไม่มีใครสนใจ
แล้ว...ใครจะมองก็มองไป กลายเป็นมาตรฐานในกลุ่มนักศึกษา
ไปหมดแล้ว ใครไม่ใส่สิเชย จะถูกมองว่าเป็นคนแปลก
ประหลาด”
...เป็นคำกล่าวของนักศึกษาหญิงรายนี้ ซึ่งเธอยอมรับ
ว่า... ที่เธอต้องแต่งชุดนักศึกษาแบบที่เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กัน
มากนี้ ส่วนสำคัญส่วนหนึ่งก็เกิด “สังคมเพื่อนนักศึกษาพาไป”
ด้วย... “แรก ๆ ใส่ก็อาย แต่นานไปก็กลายเป็นมั่นใจ” ...เธอว่า
จากคนที่ทานกระแส สู่คนที่ปล่อยตัวไปตามกระแส มาต่อ
กันด้วยนักศึกษาหญิงที่อยู่แถวหน้าของกระแสแฟชั่นชุด
นักศึกษาหญิงรัดติ้ว-สั้นเต่อที่ชื่อ อัญชลี ที่บอกไว้ว่า... ถึงเธอ
จะแต่งตัวแบบนี้ แต่การเรียนก็ไม่เคยตก บางคนแต่งตัวสุด
เปรี้ยวแต่ผลการเรียนดีมาก เป็นคนที่เก่งที่สุดในห้องก็มี
...เป็นคำกล่าวของนักศึกษาหญิงรายนี้ ซึ่งเธอยอมรับ
ว่า... ที่เธอต้องแต่งชุดนักศึกษาแบบที่เป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กัน
มากนี้ ส่วนสำคัญส่วนหนึ่งก็เกิด “สังคมเพื่อนนักศึกษาพาไป”
ด้วย... “แรก ๆ ใส่ก็อาย แต่นานไปก็กลายเป็นมั่นใจ” ...เธอว่า
จากคนที่ทานกระแส สู่คนที่ปล่อยตัวไปตามกระแส มาต่อ
กันด้วยนักศึกษาหญิงที่อยู่แถวหน้าของกระแสแฟชั่นชุด
นักศึกษาหญิงรัดติ้ว-สั้นเต่อที่ชื่อ อัญชลี ที่บอกไว้ว่า... ถึงเธอ
จะแต่งตัวแบบนี้ แต่การเรียนก็ไม่เคยตก บางคนแต่งตัวสุด
เปรี้ยวแต่ผลการเรียนดีมาก เป็นคนที่เก่งที่สุดในห้องก็มี
2. บางส่วนก็เข้าใจว่า สิ่งที่ทำไม่ได้เสียหายกับคนอื่น
" อย่าใช้เรื่องการแต่งตัวมาเป็นมาตรฐานชี้วัดได้มั้ย
ผู้ใหญ่ควรจะดูที่ความคิดหรือที่ผลการเรียนจะดีกว่ามาคอยนั่ง
จับผิดเรื่องแบบนี้ ไม่อยากให้เหมารวมว่านักศึกษาที่แต่งตัว
แบบนี้เป็นเด็กไม่ดี เป็นเด็กใจแตก เพราะคนเราจะดีหรือไม่ดีไม่
ได้ขึ้นกับการแต่งกาย” ...อัญชลีกล่าวเสียงฉุน ๆ ก่อนจะบอก
ต่อไปอีกว่า... สำหรับเธอแล้วการแต่งตัวแบบนี้เหมือนเป็นการ
“คลายเครียด” เป็นการ “ระบายอารมณ์” อย่างหนึ่ง และไม่
ปฏิเสธว่าการ “แหกกฎ” ในบางเรื่อง การทำผิดระเบียบ ทำให้
“สนุก”"
3. สาเหตุสุดท้าย คือการโทษสถาบัน
“ฝ่ายสถาบันการศึกษาเองก็ผิด ที่มีส่วนปล่อยให้
กระแสแบบนี้ลามไปทั่วจนยับยั้งยาก รวมถึงผู้ค้าที่หากินกับ
การขายชุดนักศึกษาก็ยึดถือผลกำไรเป็นหลัก จนไม่คำนึงถึง
ความถูกต้องเหมาะสม” ...ส่วนนี่เป็นคำกล่าวของผู้ใหญ่ใน
มหาวิทยาลัยรัฐแห่งหนึ่ง ซึ่งนักการศึกษารายนี้ยังบอกด้วยว่า...
“ปัญหานี้จะโทษเด็กฝ่ายเดียวไม่ได้ ต้องไม่ลืมที่จะมองฝ่ายอื่น
ๆ ด้วย” " อย่าใช้เรื่องการแต่งตัวมาเป็นมาตรฐานชี้
วัดได้มั้ย ผู้ใหญ่ควรจะดูที่ความคิดหรือที่ผลการเรียนจะดีกว่า
มาคอยนั่งจับผิดเรื่องแบบนี้ ไม่อยากให้เหมารวมว่านักศึกษาที่
แต่งตัวแบบนี้เป็นเด็กไม่ดี เป็นเด็กใจแตก เพราะคนเราจะดีหรือ
ไม่ดีไม่ได้ขึ้นกับการแต่งกาย” ...อัญชลีกล่าวเสียงฉุน ๆ ก่อนจะ
บอกต่อไปอีกว่า... สำหรับเธอแล้วการแต่งตัวแบบนี้เหมือน
เป็นการ “คลายเครียด” เป็นการ “ระบายอารมณ์” อย่างหนึ่ง
และไม่ปฏิเสธว่าการ “แหกกฎ” ในบางเรื่อง การทำผิดระเบียบ
ทำให้ “สนุก”"
3. สาเหตุสุดท้าย คือการโทษสถาบัน “ฝ่าย
สถาบันการศึกษาเองก็ผิด ที่มีส่วนปล่อยให้กระแสแบบนี้ลามไป
ทั่วจนยับยั้งยาก รวมถึงผู้ค้าที่หากินกับการขายชุดนักศึกษาก็
ยึดถือผลกำไรเป็นหลัก จนไม่คำนึงถึงความถูกต้องเหมาะสม”
...ส่วนนี่เป็นคำกล่าวของผู้ใหญ่ในมหาวิทยาลัยรัฐแห่งหนึ่ง ซึ่ง
นักการศึกษารายนี้ยังบอกด้วยว่า... “ปัญหานี้จะโทษเด็กฝ่าย
เดียวไม่ได้ ต้องไม่ลืมที่จะมองฝ่ายอื่น ๆ ด้วย”ทั้งหมดทั้งมวลก็
คงต้องขึ้นอยู่กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง...
ณ ที่นี้ก็แค่สะท้อนเสียงฝ่ายต่าง ๆ สู่สังคมอีกครั้ง.ณ ที่นี้ก็แค่
สะท้อนเสียงฝ่ายต่าง ๆ สู่สังคมอีกครั้ง.
ที่มา luk-jeff.blogspot.com/2011/02/blog-post_13.html
ปัญหาการแต่งกายและแนวทางแก้ไข
ปัญหาของนิสิตที่สำคัญในการแต่งกายคือความเชื่อ
และ ความเหมาะสม กล่าวคือพวกที่แต่งกายไม่เรียบร้อย
ส่วนหนึ่งเกิดจากการไม่มีความเชื่อ
ความเชื่อที่ว่าเมื่อเราแต่งตัวให้ถูกกาลเทศะแล้วจะเป็น
ผลดีต่อตัวเรา
และเช่นกันอีกส่วนหนึ่งปัญหาเกิดจากความเหมาะสม
ความเหมาะสมในที่นี้หมายถึง
ไม่รู้ว่าจะต้องแต่งกายอย่างเหมาะสมได้อย่างไร เพราะไม่รู้ว่า
ความเหมาะสมของการแต่งกายอยู่ตรงไหน
ปัญหาแรกปัญหาเรื่องความเชื่อ
ความเหมาะสมของการแต่งกายอยู่ตรงไหน
ปัญหาแรกปัญหาเรื่องความเชื่อ
ค่อนข้างจะเป็นปัญหาที่เป็นนามธรรมไปสักหน่อยแต่
ความจริงแล้วมัน
คือเบื้องลึกของจิตใจ เมื่อเราได้คิดที่จะแก้ไขในจุดนี้ขอรู้
เถอะว่าเราได้เดินทางมาถูกทาง และแก้ปัญหาได้ตรงจุดแล้ว
แนวทางการแก้ไขนั้น คือสร้างความเชื่อในหมู่นิสิตว่า
การแต่งกายที่ดีเป็นผลดีต่อตัวเค้า
การสร้างความเชื่อนั้นทำได้หลายวิธี
เช่น การสร้างแรงจูงใจ การให้รางวัล
การรณรงค์ การชมเชยเมื่อเขาแต่งตัวเรียบร้อย ปัญหานี้แม้ว่า
จะยากแต่หากทุกคนร่วมมือกัน พูดกันทุกวัน
รณรงค์กันทุกวัน ก็เชื่อว่าจะต้องประสบความสำเร็จ
อย่างแน่นอน
ปัญหาที่สอง ปัญหาเรื่องความเหมาะสม
ปัญหาที่สอง ปัญหาเรื่องความเหมาะสม
ความเหมาะสมที่ว่าเกิดจากความรู้ที่เราจะต้องปลูกฝังให้รู้สึกว่า
การแต่งกายแบบนี้ การแต่งกายที่ดีนี่ต่างหาก
เป็นการแต่งกายที่ถูกต้อง
บรรทัดฐานของการแต่งกายก็เป็นความสัมพันธ์
เช่นเดียวกันที่เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องรู้ว่ามันคือส่วนหนึ่งของ
ความเหมาะสม
เพราะว่ามันยากที่จะพูดว่าใครแต่งการเหมาะสมแต่งกาย
ไม่เหมาะสม บรรทัดฐานที่ว่านี้แต่ละคนจะไม่เหมือนกัน
แต่เราควรจะกำหนดลงไปให้มีการรับได้
ของสังคมที่เราอยู่อย่างเต็มที่มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
แนวทางการแก้ไขปัญหานี้
ไม่ใช่แค่รุ่นพี่ออกมาโวยวาย บังคับน้อง
สร้างบรรทัดฐานโดยการออกกฎ ซึ่งเปล่าเลยมันไม่ใช่
วิธีการแก้ปัญหา แต่รุ่นพี่
หรือสังคมควรจะออกมาแสดงพลังและทุกๆคนจะต้องสอน
และ สร้าง บรรทัดฐานนั้นแก่กันและกัน
ด้วยการแต่งกายอย่างเหมาะสม
เพราะว่าแม้เราจะทำการประชาสัมพันธ์สักเท่าไรเกี่ยวกับ
การแต่งกายที่ถูกต้อง
แต่หากรุ่นพี่ไม่เป็นตัวอย่างที่ดีแก่รุ่นน้อง
รุ่นน้องก็คงจะสับสนในบรรทัดฐานนั้นเหมือนกันว่า
จริงๆแล้วเส้นแบ่งมันอยู่ตรงไหน และยุติธรรมหรือเปล่าที่รุ่นน้อง
กลับถูกสอนให้แต่งกายเรียบร้อย
แต่รุ่นพี่กลับแต่งกายไม่เรียบร้อย เปรียบได้กับ
คนออกกฎหมายทำผิดกฎหมายเสียเอง แล้ว
คนอยู่ใต้กฎหมายที่ไหนจะเชื่อในกฎหมาย
เพียงเราสร้างความเชื่อและ
เพียงเราสร้างความเชื่อและ
ให้นิสิตรู้ถึงความเหมาะสมว่าแท้จริงแล้วเส้นแบ่ง
การแต่งกายที่ดีกับแต่งการที่ไม่ดีอยู่ตรงไหน
ด้วยวิธีแนวทางการแก้ปัญหาที่ลงลึกถึงรากแท้ของปัญหา
การใช้ความจริง
การใช้ความถูกต้อง และ บรรทัดฐานแห่งสิ่งที่เรียกว่า
ดีมาเป็นตัวกำหนด สุดท้าย
สังคมมหาวิทยาลัยจะมีแต่นิสิตที่รู้บทบาทของตนเอง
ว่าควรจะทำอะไรและไม่เฉพาะเรื่องการแต่งกายแต่เพียงอย่าง
เดียว.....
เดียว.....